เอกสารอ้างอิง

1. คณะกรรมการจัดทำหนังสือศตวรรษสมโภช. ศตวรรษสมโภช. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2544.

2. คณะกรรมการดำเนินงานฝ่ายจัดทำหนังสือ. พิบูลมังสาหาร 139 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 1. อุบลราชธานี: พูลเพิ่มการพิมพ์, 2545

3. คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดอุบลราชธานี. พิมพ์ครั้งที่ 1. ม.ป.ท. : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร,2544.

4. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. การสำรวจแนวพรมแดนไทย-พม่า-ลาว-กัมพูชา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.

5. เติม วิภาคย์พจนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2542.

6. บำเพ็ญ ณ อุบล. คอง 14 ระเบียบชีวิตคนอีสาน. อุบลราชธานี : สำนักศิลปวัฒนธรรมกาญจนา ภิเษกสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี, 2546.

7. บำเพ็ญ ณ อุบล. เล่าเรื่องเมืองอุบลราชธานี. พิมพ์ครั้งที่ 1. อุบลราชธานี : ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม, 2539.

8. บำเพ็ญ ณ อุบล. เล่าเรื่องเมืองอุบลราชธานี. พิมพ์ครั้งที่ 1. อุบลราชธานี : สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2545.

9. ธิดา สาระยา. เมืองประวัติศาสตร์ : เมืองพิมาย เขาพระวิหาร เมืองอุบล เมืองศรีสัชชนาลัย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2538.

10. ธิดา สาระยา. เมืองอุบล ธานีแห่งราชะ ศรีสง่าแห่งไพรพฤกษ์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2536.

11. ศิลปากร, กรม. คู่มือแนะนำเอกสารจดหมายเหตุ จังหวัดอุบลราชธานี : เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี.กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, 2532.

12. ศิลปากร, กรม. เมืองอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, 2532.

13. ศิลปากร, กรม. อดีตอีสาน. กรุงเทพฯ : ฝ่ายวิชาการ กองโบราณคดี กรมศิลปากร, 2531.

14. สถิติจังหวัดอุบลราชธานี, สำนักงาน. สมุดรายงานสถิติจังหวัด พ.ศ. 2546 : อุบลราชธานี. สำนักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี, 2546.

15. สุวิชช คูณผล. "การใช้ประโยชน์ทุ่งศรีเมือง เมื่อ 50 กว่าปีมาแล้ว", วารสารข่าวหอการค้าอุบลราชธานี. ปีที่ 16 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2544) : หน้า 9.

16. สุวิชช คูณผล. "นักเรียน ม.6 เมื่อ 67 ปีก่อน", วารสารข่าวหอการค้าอุบลราชธานี. ปีที่ 18 (สิงหาคม 2546) : หน้า 9.

17. สุวิชช คูณผล. "ประเพณีแห่เทียนพรรษาคือภูมิปัญญาท้องถิ่น", วารสารข่าวหอการค้าอุบลราชธานี. ปีที่ 15 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2543) : หน้า 9.

18. สุวิชช คูณผล. "ประวัติชื่อถนนสายสำคัญของเมืองอุบล", วารสารข่าวหอการค้าอุบลราชธานี. ปีที่ 16 (พฤศจิกายน 2544) : หน้า 9.

19. สุวิชช คูณผล. "สะพานเสรีประชาธิปไตย", วารสารข่าวหอการค้าอุบลราชธานี. ปีที่ 15 (พฤษภาคม 2543) : หน้า 9.

20. สำลี รักสุทธี. ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ ประเพณีของดีอีสาน. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, 2544.

21. ที่ระลึกในงานแสดงมุทิตาสักการะ พระวินัยโกศล (พระมหาทองคู่ สุขวฑฒโน ปธ.6) เจ้าอาวาสวัดศรีอุบลรัตนาราม พระอารามหลวง เจ้าคณะอำเภอเมืองอุบลราชธานี (ธ) ต.ในเมือง อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2544. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2544.

22. ที่ระลึกเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดป้ายอาคารเรียน มูลนิธิโรงเรียนวัดศรีอุบลรัตนาราม ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี วัดศรีอุบลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 27 พฤศจิกายน 2514. กรุงเทพฯ : พับลิเคชั่น เซนเตอร์, 2514.

23. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ นางสงวนศักดิ์ คูณผล ณ เมรุ 1 วัดพระศรีมหาธาตุวรวิหาร ถนนพหลโยธิน เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2545.

24.อุบลราชธานี 200 ปี. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, 2535.